วันพฤหัสบดีที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

อาหารยอดนิยมภาคใต้ : น้ำพริกระกำ


น้ำพริกระกำ



เครื่องปรุง
  1.  ระกำปลอกเปลือกขูดเอาแต่เนื้ออก 1 ช้อนโต๊ะ
  2. กะปิ กุ้งแห้ง อย่างละ 1 ช้อนโต๊ะ
  3.  กระเทียม 3 กลีบ
  4. น้ำตาลทราย 1 ช้อนชา
  5. พริกขี้หนูสด 40 เม็ด

วิธีทำ


                           


อาหารยอดนิยมภาคใต้ : ผัดสะตอกับกะปิใส่กุ้ง




ผัดสะตอกับกะปิใส่กุ้ง 

 สะตอ   ผักพื้นบ้านสัญลักษณ์ของชาวใต้ที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย สะตอเป็นผักที่มีรสชาติและกลิ่นที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ชาวใต้นิยมนำสะตอมารับประทานเป็นผักสด  หรือจะนำมาปิ้งไฟให้สุกรับประทานเป็นผักเคียงคู่กับน้ำพริกหรือกับข้าวต่างๆ  นอกจากนี้ ยังนิยมนำมาประกอบเป็นกับข้าวอีกด้วย  โดยเมนูที่ได้รับความนิยมในกลุ่มชาวใต้และภาคอื่นๆ คือ ผัดสะตอกับกะปิใส่กุ้ง เมนูนี้หารับประทานได้ง่าย รสชาติมีทั้งเค็ม เปรี้ยว หวานเล็กน้อย และมีความหอมจากกะปิิ







ส่วนผสม
  1.  สะตอ 1 ขีด 
  2.  กะปิ 1/2 ช้อนโต๊ะ
  3.  กุ้งชีแฮ 1 ขีด
  4.  กระเทียมกลีบเล็ก 6 กลีบ
  5.  หอมแดง 2 หัว
  6. น้ำตาลทราย ตามชอบ
  7. น้ำมะนาว 1/2 ช้อนชา
  8.  น้ำมันพืช 2 ช้อนโต๊ะ 
  9. พริกเหลืองหรือพริกขี้หนูแดงสด 7 เม็ด

วิธีทำ

อาหารยอดนิยมภาคใต้ : แกงหมูกับลูกเหรียง

แกงหมูกับลูกเหรียง

หรียง เป็นผักพื้นบ้านของภาคใต้ เป็นไม้ยืนต้น ลำต้นสูงใหญ่ ลักษณะคล้ายต้นสะตอแต่ต้นจะสู.ใหญ่กว่าต้นสะตอ ชาวใต้นิยมนำเมล็ดเหรียงมาเป็นอาหาร โดยจะนำเมล็ดเหรียงมาแช่นำเพาะให้แตกรากสั้น ๆ เช่นเดียวกับถั่วงอก แต่หัวจะโตกว่าถั่วงอก เรียกว่า “ลูกเหรียง” มีรสมัน กลิ่นฉุน นำมาประกอบอาหารได้หลายชนิด ทั้งเป็นผักสดรับประทานกับน้ำพริก นำมาดองหรือแกงเป็นอาหาร





เครื่องปรุง
  1. ลูกเหรียงเด็ดหางออก 500 กรัม
  2. เนื้อหมูหั่นบาง 1 กิโลกรัม
  3. มะพร้าวขูด 1 กิโลกรัม
  4. น้ำปลา 1 ช้อนโต๊ะ
  5. น้ำตาลปี๊บ 1 ช้อนชา

เครื่องเเกง
  1. ตะไคร้ 3-4 ต้น
  2. พริกขี้หนูสด 50 เม็ด
  3. กระเทียม 1 หัว
  4. หอมเดง 4 หัว
  5. ข่า 5 แว่น
  6. พริกไทยเม็ด 2 ช้อนโต๊ะ
  7. เกลือป่น 1 ช้อนโต๊ะ
  8. กะปิ 1 ช้อนโต๊ะ
  9. ขมิ้น 1 นิ้ว
  10. โขลกเครื่องแกงทั้งหมดให้ละเอียด

                                 วิธีทำ


                           

















อาหารยอดนิยมภาคใต้ : แกงส้มออกดิบ



แกงส้มออกดิบ



เครื่องปรุง

  1. อ้อดิบ 3 ก้าน (300กรัม)
  2. ปลา 300 กรัม
  3. ส้มแขก/มะนาว 10 ชิ้น
  4. พริกขี้หนูแห้ง 30 เม็ด (30 กรัม)
  5. ขมิ้น 1 นิ้ว (15 กรัม)
  6. กระเทียม 2 หัว (20 กรัม)
  7. เกลือ 1 ช้อนชา (8 กรัม)
  8. กะปิ 1 ช้อนโต๊ะ (15 กรัม)
วิธีทำ
                      

อาหารยอดนิยมภาคใต้ : แกงไตปลา

  
แกงไตปลา


แกงไตปลา เป็นอาหารที่ขึ้นชื่อของภาคใต้ด้วยรสชาติที่เป็นเอกลักษณ์ ทั้งเผ็ดและร้อนแรง รสเข้มข้นด้วยส่วนผสมที่ลงตัว จะเลือกรับประทานร่วมกับข้าวหรือขนมจีนก็อร่อยไม่แพ้กัน     แกงไตปลามีทั้งชนิดไม่ใส่กะทิและใส่กะทิ     สำหรับแกงไตปลาไม่ใส่กะทิ จะได้รับความนิยมมากกว่าแกงไตปลาชนิดใส่กะทิิ


เครื่องปรุง
  1. ไตปลา                             1/2     ถ้วย
  2. น้ำเปล่าประมาณ                  2-3     ถ้วย
  3. ส้มแขก                               3     ชิ้น
  4. หรือมะขามเปียกคั้นน้ำ           1/4    ถ้วย
  5. กุ้งสด                               300   กรัม
  6. ปลาย่างหรือปลากรอบ           100   กรัม
  7. น้ำตาลปึก                            1    ช้อนโต๊ะ
  8. ใบมะกรูด                             4    ใบ
  9. ข่า 10 แว่นบางๆ หรือหั่น           1    ช้อนโต๊ะ
  10. ตะไคร้หั่นละเอียด                   6    ช้อนโต๊ะ
  11. ผิวมะกรูด                             1    ช้อนโต๊ะ
  12. ขมิ้นสดยาวประมาณ 2 นิ้วหั่น     1    ช้อนโต๊ะ
  13. กะปิ                                   2    ช้อนโต๊ะ

เครื่องปรุงน้ำพริก
  1. พริกขี้หนูแห้ง 40 เม็ด
  2. พริกขี้หนูสด 1 ช้อนโต๊ะ
  3. พริกไทย 10 เม็ด
  4. กระเทียม 1/2 ถ้วยหอมหั่นหยาบๆ
  5. เกลือป่น 1 ช้อนโต๊ะ

ผักที่ใช้ใส่แกง
  1. ถั่วฝักยาว
  2. ฟักทอง
  3. หน่อไม้


วิธีทำ

                           

อาหารไทยภาคใต้

 อาหารไทยภาคใต้
                    
                  ภาคใต้จะเริ่มตั้งแต่ชุมพรลงไปถึงประเทศมาเลเซีย มีลักษณะเป็นแผ่นดินที่ยื่นลงไปในทะเล โดยมีทะเลขนาบทั้ 2 ด้าน มีทิวเขาตะนาวศรีอยู่ทางทิศตะวันตกกั้นแนวพรมแดนไทยกับพม่า มีฝนตกชุกและมีช่วงฤดูฝนนานกว่าภาคอื่นๆ ของประเทศ จึงมีผักที่ใช้เป็นอาหารแตกต่างไปจากภาคอื่นๆ หลายชนิด เช่น สะตอ ลูกเนียง มะม่วงหิมพานต์ หน่อเหวียง ใบพาโหม อ้อดิบ


  อาหารภาคใต้โดยทั่วไปมักมีรสจัด คือ เผ็ด เค็ม รสหวานได้จากกะทิ เครื่องปรุงรสเค็มได้จากกะปิ น้ำปลา น้ำบูดู รสเปรี้ยวได้จากมะนาว มะกรูด มะม่วงเบา ส้มแขก สีอาอาหารภาคใต้โดยทั่วไปมักมีรสจัด คือ เผ็ด เค็ม รสหวานได้จากกะทิ เครื่องปรุงรสเค็มได้จากกะปิ น้ำปลา น้ำบูดู รสเปรี้ยวได้จากมะนาว มะกรูด มะม่วงเบา ส้มแขก สีอาหารจะออกสีเหลืองจากขมิ้น ซึ่งถือเป็นเอกลักษณ์ที่นอกจากให้สีแล้ว ยังให้กลิ่นด้วย และดับกลิ่นคาวของอาหารทะเลนี้เป็นอาหารหลัก การที่อาหารภาคใต้มีรสจัด จึงต้องมีผักรับประทานคู่ไปด้วย เพื่อช่วยลดความเผ็ดร้อนลง เรียกว่า "ผักเหนาะ" เช่น มะเขือเปราะ ถั่วฝักยาว สะตอ ลูกเนียง ยอดมะกอก  นอกจากนี้ ยังมีการถนอมอาหารที่ขึ้นชื่อ เช่น กุ้งเสียบ น้ำบูดู ไตปลา เป็นต้น


                  

วันอังคารที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2558

อาหารยอดนิยมภาคกลาง:แกงส้ม

แกงส้ม

http://pim.in.th/images/all-side-dish-fish/kang-som/kangsom-06.JPG
ส่วนผสมสำหรับตำพริกแกงส้ม 
- หอมแดง 8 หัว
- กระชาย 8 ราก
- พริกแห้งเม็ดใหญ่ป่นหยาบ 3 ชต.
- พริกขี้หนูแห้งป่นหยาบ 1 1/2 ชต.
- กะปิ 1 1/4 ชต.
ส่วนผสมและเครื่องปรุงสำหรับทำแกงส้ม
- น้ำพริกแกงส้ม 4 ชต.
- เนื้อปลา 100 กรัม
- น้ำซุป 4 1/2 ถ้วย
- มะขามเปียกชนิดไม่มีเม็ด 50 กรัม
- น้ำตาลปี๊บ 2 - 3 ชต.
- เกลือป่น   2 ชต.
- น้ำปลา 2 - 3  ชต.
- มะนาวน้ำดีๆ  1 ลูก
- ผักต่างๆ ตามชอบ
- กุ้งสดแกะเปลือกแล้ว ปริมาณตามชอบ
วิธีการทำ











อาหารยอดนิยมภาคกลาง:ห่อหมกปลาช่อน


ห่อหมกปลาช่อน
 เป็นอาหารไทยยอดนิยมอีกจานหนึ่งที่มักจะถูกสั่งขึ้นโต๊ะเสมอ เพราะเนื้อปลาแน่น ไม่มีกลิ่นคาว  ยิ่งห่อหมกปลาช่อนใบยอ มีใบยอที่มีรสชาติขมอ่อนๆเป็นเอกลักษณ์แต่เข้ากันได้เป็นอย่างดี  การปรุงห่อหมกปลาช่อนใบยอ จะมีการใส่กะทิ เนื้อปลา และพริกแกง เคล็บลับสำคัญอยู่ที่การกวนเนื้อ
ห่อหมกต้องคนจนข้นเหนียว  จะทำให้ห่อหมกมีรสชาติอร่อย



เครื่องปรุง + ส่วนผสม
* เนื้อปลา 300 กรัม (หั่นเป็นชิ้นบางๆ)
* ใบกะหล่ำปลี 5 ใบ (หั่นเป็นชิ้นเล็กๆ)
* แป้งข้าวเจ้า 1 ช้อนโต๊ะ
* ใบผักชี 10 ใบ
* พริกชี้ฟ้า 2 เม็ด (ซอยเป็นเส้นบางๆ)
* ใบมะกรูดซอยละเอียด 4 ใบ
* น้ำพริกแกงเผ็ด 2 ช้อนโต๊ะ
* กะทิ 1 กระป๋อง
* ไข่ไก่ 2 ฟอง
* น้ำปลา 1 ช้อนชา
* น้ำตาล 2 ช้อนชา

วิธีการทำ




อาหารยอดนิยมภาคกลาง:แกงเขียวหวานไก่

แกงเขียวหวานไก่

เป็นอีกเมนูหนึ่งที่ได้รับความนิยมกันมาก ในหมู่ผู้บริโภคไม่ว่าจะเป็นข้าวราดแกง หรือรับประทานกับขนมจีนก็อร่อยไม่น้อย ซึ่งเนื้อสัตว์ที่จะนำมาทำแกงเขียวหวาน ก็สามารถทำเปลี่ยนไปได้เรื่อยๆไม่ว่าจะเป็น เนื้อวัว เนื้อหมู ไก่ ปลา กุ้ง ลูกชิ้นปลากราย หรือเมนูผักเพื่อสุขภาพก็ได้เช่นเดียวกัน แกงเขียวหวาน มีความหอมของพริกแกง และความหอมของเครื่องเทศ มีรสหวานมันของกะทิ นิยมรับประทานกับข้าวสวยหรือขนมจีนก็จะเพิ่มความอร่อยยิ่งขึ้น…ดังนั้น วันนี้เราจึงมีสูตรแกงเขียวหวานไก่รสชาติกลมกล่อมจัดจ้านมาฝากครับ ที่มีสูตรอร่อยๆดังนี้


เครื่องปรุง
  • พริกแกงเขียวหวานผสมพริกแกงเผ็ดนิดนึง
  • สะโพกไก่ 500 กรัม
  • เครื่องในไก่ 500 กรัม (หรือมากกว่าได้ตามชอบ)
  • เลือดไก่ 1 ก้อน (ใส่หรือไม่ใส่ก็ได้)
  • มะเขือเปราะ 500 กรัม
  • มะเขือพวง 500 กรัม
  • พริกขี้หนูสวน 100 กรัม (โขลกหรือบด ให้พอละเอียด)
  • กะทิสด 1½ เอาเฉพาะหัว หรือจะใช้แบบกล่องก็เอากล่องขนาด 1000 มิลลิลิตร
  • ใบโหรพา 200 กรัม
  • พริกแดงเพื่อตกแต่ง 1 เม็ด (ใส่หรือไม่ก็ได้)
  • น้ำมันพืช 2 ช้อนโต๊ะ
  • เกลือ หรือ น้ำปลา
  • น้ำตาลปิ๊ป 2 ช้อนโต๊ะ
วิธีการทำ



อาหารยอดนิยมภาคกลาง:น้ำพริกกระปิ

น้ำพริกกะปิ

เป็นน้ำพริกที่ชาวบ้านนิยมมากที่สุด รสเข้มข้น ไม่มีสูตรเฉพาะตัว ตามแต่จะปรุงรสกันไป
สิ่งที่ต้องเตรียม

1. พริกขี้หนูสวน 70 กรัม
2. กะปิห่อใส่ใบตอง 300 กรัม
3. กุ้งแห้งป่น 200 กรัม
4. น้ำตาลปี๊บ 5 ช้อนโต๊ะ
5. น้ำปลา 4 ช้อนโต๊ะ
6. น้ำมะนาว 8 ช้อนโต๊ะ
7. กระเทียมสดแกะเปลือก 100 กรัม
8. มะเขือเปราะ เอาเมล็ดออก 50 กรัม
9. มะอึก ซอยละเอียด 50 กรัม
วิธีการทำ





อาหารยอดนิยมภาคกลาง:ต้มยำกุ้งน้ำข้น

ต้มยํากุ้งน้ำข้น

ต้มยํากุ้งอาหารถูกปากของคนไทยและชาวต่างชาติ เรียกได้ว่าทั่วโลกแทบทุกคนไม่มีใครที่ไม่รู้อาหารไทยอย่าง ต้มยํากุ้ง นี้ และสูตรเมนูต้มยํากุ้งวันนี้จะเป็น ต้มยํากุ้งน้ำข้น นั่นเอง เอาใจคอชอบอาหารที่เน้นความเข้มข้นของรสชาติใครที่ชอบทำอาหารห้ามพลาดกับเมนู ต้มยำกุ้ง ถ้วยนี้เลยนะขอบอก และขอบอกอีกทีว่า ต้มยำกุ้งชาม นี้นับว่าแซ่บจี๊ดจริง ๆ เลยค่ะ ว่าแล้วเราจะมาดูเครื่องปรุงรสต้ม
กุ้งน้ำข้นและวิธีทำและขั้นตอนการทำต้มยำกุ้งน้ำข้นกันเลยดีกว่าค่ะ 



เครื่องปรุงรส ต้มยํากุ้ง น้ำข้น
  • ตะไคร้ 2 ต้น
  • ข่า 1 แง้ง
  • ผักชี 1 ต้น
  • พริกขี้หนู 5 เม็ด
  • ใบมะกรูด 5 ใบ
  • มะเขือเทศใหญ่ 1 ลูก
  • เห็ดฟาง 5 ดอก
  • เห็ดนางฟ้า 5 ดอก
  • กุ้งสด 10 ตัว
  • น้ำพริกเผา 1 ช้อนโต๊ะ
  • น้ำมะนาว 2 ช้อนโต๊ะ
  • น้ำปลา 1 ช้อนโต๊ะครึ่ง
  • นมสด 1 ทัพพี
  • น้ำเปล่า 1 ลิตร

วิธีการทำ




อาหารไทย:ภาคกลาง





อาหารภาคกลาง 
เนื่องจากสภาพภูมิศาสตร์ของภาคกลางเป็นที่ราบลุ่ม มีแม่น้ำลำคลอง หนองบึงมากมาย 
จึงเป็นแหล่งอาหารทั้งพืชผักและสัตว์น้ำนานาชนิด พื้นที่บางส่วนติดชายฝั่งทะเลทำให้วัตถุดิบ 
ในการประกอบอาหารหลากหลายอุดมสมบูรณ์


อาหารภาคกลางมีความหลากหลายทั้งในการปรุง รสชาติ และการตกแต่งให้น่ารับประทาน 
สืบเนื่องจากการรับและปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมจากภายนอก เช่น จีน อินเดีย ชาวตะวันตก 
อีกทั้งอาหารภาคกลางบางส่วนได้รับอิทธิพลมาจากอาหารของราชสำนักอีกด้วย 
สำรับอาหารภาคกลางมักมีน้ำพริกและัผัีกจิ้ม โดยรับประทานข้าวสวยเป็นหลัก ลักษณะอาหาร 
ที่รับประทานมักผสมผสานระหว่างภาคต่าง ๆ เช่น แกงไตปลา ปลาร้า น้ำพริกอ่อง